เลือก: A B c d e f g h i j k m n o p r s t u w y z
โมจิย่างที่หั่นแล้วพร้อมกับโรยหน้าด้วยน้ำตาลและผสมด้วย ผงถั่วเหลือง (kinako) หรือราดด้วยน้ำเชื่อมแล้วค่อยตามด้วย ผงถั่วเหลือง (kinako)
เต้าหู้หั่นบางๆทอดเกรียมและยังเป็นวัตถุดิบสำคัญของ เต้าหู้ห่อซูชิ (inarizushi)
สลัดที่พร้อมทาน เป็นหนึ่งในอาหารพื้นฐานของภัตตาคารญี่ปุ่น ผักที่ได้รับการปรุงรสแล้ว เช่น ผักโขมที่ถูกราดด้วยน้ำสลัดอย่างเข้มข้น เช่น น้ำสลัดงาที่ปรุงรสชาติด้วยซอสถั่วเหลืองและน้ำตาล (goma ae) Horenso no goma ae (ผักโขมราดด้วยน้ำมันงา) ถึงแม้ว่าจะดูเรียบง่ายแต่สลัดก็เป็นหนึ่งในอาหารจานเด็ดของญี่ปุ่นเลยทีเดียว เต้าหู้และมิโซะก็ถูกใช้เป็นน้ำสลัดเช่นเดียวกัน
ชาสดที่เก็บใหม่ในยามเช้า เป็นคำย่อ agaribana ส่วนมากไว้ใช้เรียกน้ำชาในร้านซูชิ
อาหารประเภททอด เช่น เต้าหู้, มะเขือ (nasu) และ ปลาเนื้อขาว (whitefish) ที่สามารถทานคู่กับซอสถั่วเหลืองและปรุงแต่งด้วยขิงฝอย และ หัวไชเท้าหั่นฝอย (daikon)
เต้าหู้ที่ได้จากการไล่ความชื้นออกและห่อด้วย katakuriko หรือแป้งสาลี, ทอดด้วยผงปลาป่น (katsuobushi) และเสิร์ฟพร้อมกับขิง และหัวไชเท้า (daikon) ในน้ำซอสที่ทำจากถั่วเหลือง เช่น น้ำทาชิปรุงรสด้วยซอสถั่วเหลืองและมิริน (warishita)
เต้าหู้ทอดเกรียมหั่นเป็นชิ้นหนาใช้ใส่ไนน้ำซุป, อาหารจานด่วน (nimono) และอื่นๆอีกหลายแบบ
ลูกชิ้นปลา (kamaboko) ชนิดพิเศษซึ่งก็คือแบบที่นำมาทอด หรือเรียกกันว่า Satsuma-age ในจังหวัดโตเกียว
ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
อาหารประเภททอดโดยเมนู ที่เป็นที่นิยม คือ เทมปุระ, ไก่ทอด (kara-age) และ อาหารชุบเกล็ดขนมปังทอด (furai)
ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
เครื่องปรุง ซึ่งไว้ใช้เพิ่มรสชาติ
ร้านเครื่องดื่มที่ไม่หรูหรามาก ตกแต่งหน้าร้านด้วยตะเกียงที่ทำจากกระดาษสีแดง เพื่อแสดงถึงป้ายผับ
ซุปมิโสะ (miso shiru) ทำจาก มิโสะ (akamiso) โดยเฉพาะ มิโสะแบบดั้งเดิม (hatcho miso) รวมถึงมิโซะที่ทำจากถั่วเหลืองชนิดอื่นๆด้วย
หอยแครง (Anadara broughtonii) หอยชนิดนี้นั้นมีเส้นผ่าศูนย์กลางถึง 12 เซนติเมตรและจับได้ดีที่สุดในช่วงฤดูใบไม้ผลิ การรับประทานให้สดที่สุดนั้นต้องทานแบบดิบๆ โดยจิ้มด้วยซอสถั่วเหลือง และ วาซาบิ (wasabi) หรือ น้ำส้มสายชูผสมซอสถั่วเหลืองหรือน้ำตาล (sanbaizu) หอยแครงยังสามารถเสิร์ฟเป็นซูชิ, ใส่ในน้ำซุป, ปรุงเป็น ปรุงรสด้วยน้ำส้มสายชู(namasu), ต้มซีอิ้ว (netsuke) และ ย่าง (yakimono) และยังสามารถอบขณะที่ยังอยู่ในเปลือกอีกด้วย
ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
ใบชิโสะสีแดง ดูเพิ่มได้ที่ shiso
ผลไม้ที่ออกในช่วงฤดูใบไม้ร่วง, ไม่ค่อยจะมีรสชาติมากนักแต่มันอาจจะจะมีรสหวานได้ เปลือกด้านนอกเป็นสีม่วง รูปทรงคล้ายฝักถั่ว หาซื้อได้ยากตามร้านค้าทั่วไป
กุ้งเนื้อสีชมพู, กุ้งทางตอนเหนือ ดูเพิ่มที่คำว่า ebi
ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
ดูเพิ่มได้ที่คำว่า kuri
หวาน
ความหวาน เป็นหนึ่งใน 5 รสชาติหลัก ส่วนมากมักจะใช้คำว่า kanmi ดูเพิ่มได้ที่คำว่า kanmi
เป็นชื่อเรียกปกติของผลไม้จำพวก Citrus natsudaidai เป็นหนึ่งในประเภทของส้มที่ออกในช่วงฤดูร้อน (natsumikan) ที่สุกก่อนกำหนด (ช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เดือนมีนาคม) แต่ส้มชนิดนี้จะเปรี้ยวน้อยกว่าส้มชนิดอื่นๆ
เครื่องดื่มร้อนๆทำจากการนำข้าวมาผสมกับน้ำและข้าวหมัก (koji) และตั้งความร้อนที่ 50-60 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 12-24ชั่วโมง ตัวเครื่องดื่มจะมีรสหวานและมักจะปรุงรสด้วยขิง ส่วนมากมักจะดื่มไว้แก้หวัดหรือแก้เจ็บคอ และใช้ดื่มตอนเทศกาลปีใหม่ขณะไปไหว้ศาลเจ้าหรือวัด อีกประเภทหนึ่งที่ทำเร็วกว่าแต่ไม่ดีเท่า คือแบบที่ทำจาก กากสาเก (sakekasu)
ขนมหวาน, ลูกอม, ประเภทของ hagashi, ดูเพิ่มที่คำว่า (miguame)
กุ้งโอพอสซั่ม (Neomysis) กุ้งที่มีขนาดเล็กมากความยาวไม่เกิน 2 เซนติเมตร โดยปกติจะดองเค็ม (shiokara) แต่ก็ยังสามารถตากแห้งเพื่อใช้หรือดองด้วยความและหวาน (tsukudani) ก็ยังได้
การย่างบนกระทะแบน (yakiami) ดูเพิ่มได้ที่คำว่า อาหารย่าง (yakimono)
เครื่องโรยหน้าหรือไส้ที่ทำจากแป้ง, เมล็ดพืชนานาชนิด และน้ำตาล โดยส่วนมากมักจะใช้เติมในของหวาน (wagashi) โดย แบบธรรมดาที่สุดนั้นจะมีสีแดง และทำจากถั่วแดง (azuki) และสามารถกรองเพื่อให้เป็นถั่วแดงบดละเอียด (koshian) หรือถ้าไม่กรองก็จะเป็นถั่วแดงบดแบบหยาบ (tsubuan) ถั่วขาว (Shiroan)นั้นจะมีสีขาวนวลที่ทำมาจากเมล็ดพืชสีขาว หรืออาจจะทำมาจากมันฝรั่ง, มันฝรั่งหวาน, เกาลัด และรากบัง
น้ำซอสที่ทำจากการผสมแป้งขนมปัง (kuzu) หรือ แป้งมัน (katakuriko) กับน้ำหรือผักต่างๆ และอุ่นจนน้ำซอสเข้มข้น
ปลาแองเจอร์ชนิดหนึ่ง ปลาที่มีรูปร่างหน้าตาน่ากลัวแต่มีรสชาติที่เยี่ยมยอด โดยสามารถจับได้ดีที่สุดในช่วงฤดูหนาว เพราะปลาจะโตเต็มที่จาก 1 เมตรเป็น 1.5 เมตร ทางเลือกยอดนิยมคือการนำปลาไปเคี่ยวกับน้ำดาชิที่ทำขึ้นจากมิรันและซอสถั่วเหลือง (warishita) เพื่อทำเป็นหม้อไฟ (ankonabe) อีกทั้งยังสามารถที่จะใส่ในน้ำซุปควบคู่ไปกับมิโซะแดง ส่วนตับของปลาจะเสิร์ฟในน้ำส้มสายชู
ใบชิโสะสีเขียว ดูเพิ่มได้ที่คำว่า shiso
สาหร่ายสีเขียว (Enteromorpha) ดูเพิ่มได้ที่ nori
การเคี่ยวหรือปลาที่มีขนาดใหญ่ ส่วนมากมักจะเป็นปลาไท หรือ ปลาบุรี ที่ไม่สดพอที่จะนำมาทานเป็นซาชิมิ หรือ ย่าง ส่วนหัวและลำตัวของปลานั้นยังติดกระดูกแต่ก็ถูกเคี่ยวไปพร้อมกับปรุงรสชาติเพิ่มด้วยซอสถั่วเหลือง, สาเก, น้ำตาล และมิรัน (mirin) บางครั้งผักโกโบ้ (gobo) ก็นิยมนำมาใส่ด้วยตามแต่ชอบ
สาหร่ายแห้ง (Eisenia bicyclis) สาหร่ายทะเลที่ถูกนำมาทำให้ แห้งจากการตากลมธรรมชาติโดย สาหร่ายจะต้องถูกเก็บขณะที่ยังอ่อนๆ เพื่อความอร่อย ให้นำมาทอดหรือทานคู่กับข้าวหรืออาหารอื่นๆ
อาราเร่ ขนมปังกรอบที่ทำจากข้าวลักษณะคล้ายกับก้อนหิน นิยมทานคู่กับเครื่องดื่มเป็นกัปแกล้ม (tsumamimono)
สาหร่ายสีม่วง (Porphyratenera) ดูเพิ่มได้ที่ nori
เมล็ดกัญชาของอินเดีย sativa โดยตัวเมล็ดนั้นจะถูกทำให้ปลอดพิษของกัญชา เมล็ดพันธุ์ทั้งหมดจะเป็นของนำเข้า แต่ไม่ได้เป็นยาเสพติด โดยจะไม่ใส่ไว้ในอาหารมากนัก แต่ใส่ตามขนบธรรมเนียมของเครื่องเทศ 7 ชนิดที่นำมาผสมผสานกัน พริกญี่ปุ่น 7 สี (shichimi togarashi) โดยจะทำการตากแห้งก่อนแล้วค่อยนำมาผสมลงไป
หอยลาย หอยชนิดนี้นิยมทานในช่วงฤดูหนาวถึงช่วงต้นฤดูใบไม้ผลิ แต่ไม่ควรทานในช่วงหลังของฤดูใบไม้ผลิ หรือฤดูร้อน ส่วนมากมักจะทานแบบดิบๆ เสิร์ฟขณะอยู่ในเปลือกพร้อมกับซุปมิโสะ (miso shiru) ตรงส่วนเนื้อนั้นจะเสิร์ฟเป็นหอยลายปรุงรสด้วยซอสถั่วเหลืองและมิรัน (tsukudani), สลัดซีฟู้ดญี่ปุ่น (sunomono), หอยลายชุบแป้งทอด (kakiage) และเสิร์ฟในข้าวต้มญี่ปุ่น (zosui)
ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
กุยช่าย Allium ledebourianum คล้ายกับต้นหอมญี่ปุ่น (nira) และ ต้นหอม (wakegi) มาก นิยมทอดแบบไม่เกรียมมากไว้ทานเป็นอาหารประเภทผัก ใช้ใส่ในหม้อไฟ (nabemono) และยังเป็นสมุนไพรที่ใช้เพิ่มรสชาติของซาชิมิของปลาปั๊กเป้าแล่ (fugu) อีกด้วย
เต้าหู้สไลด์หนาๆทอดแบบไม่นานมากในน้ำมันที่ร้อน ซึ่งจะทำให้เนื้อภายในเต้าหู้คงสภาพอยู่เช่นเดิม ด้วยคำว่า abura-age ลักษณะของสไลด์มาบางว่า และการทอดจะเข้าถึงมากขึ้น Atsuage นั้นสามารถทานเดี่ยวๆก็ยังได้โดยเติมรสชาติด้วยซอสถั่วเหลืองและขิง และสามารถเสิร์ฟเป็นอาหารจานด่วน (nimono), อาหารจานผัด (itamemono), สลัดพร้อมทาน(aemono) และโอเด้ง (o-den) โดยจะเรียกอีกอย่างว่า nama-age
ข้าวฟ่างทางกระรอก ควบคู่ไปกับ ลูกเดือย (hie), ข้าวฟ่างจะนิยมทานในหมู่ชาวบ้านเนื่องจากราคาที่ถูก และยังสามารถทานแทนข้าวได้ ข้าวฟ่างนั้นจะปลูกในจังหวัดคิวชู และชิโกกุ และยังสามารถนำไปหุงทานนำไปผสมกับข้าว ข้าวฟ่างนั้นจะต้องทานขณะร้อนๆ เพราะมันจะแข็งถ้าเกิดทานขณะเย็น และยังใช้ทำเค้กข้าวฟ่าง (awamochi), ข้าวฟ่างปั้น (awadango), และขนมข้าวฟ่าง (awa-ame)
หอยเป๋าฮื้อเป็นหอยที่รสชาติเยี่ยม แต่ก็ราคาสูงด้วยเช่นกัน นิยมทานแบบดิบๆแบบซาชิมิ โดยตัวหอยจะสร้างความประทับใจในรสชาติ ยังสามารถทานโดยเอามาอบไอน้ำ, ต้ม และปรุงเป็นเมนูเผา (ishiyaki) ได้อีกด้วย จับได้ดีในช่วงเดือนพฤษภาคมและเดือนมิถุนายน
ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
การผสมผสานของมิโซะหลากชนิด โดยเป็นการคิดว่าจะสามารถสร้างซุปมิโซะที่อร่อยที่สุดได้